
1. No poverty ขจัดความยากจน

เป้าหมายที่ 1 : ขจัดความยากจนทุกรูปแบบ ทุกสถานที่
ในทั่วโลก ผู้คนมากกว่า 800 ล้านคน ยังคงอยู่ได้ด้วยเงินน้อยกว่า 1.25 ดอลลาห์ต่อวัน หลายคนยังขาดการเข้าถึงอาหาร น้ำดื่มที่สะอาดและสุขอนามัยที่เพียงพอ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วในประเทศ เช่น จีนและอินเดีย ได้ช่วยยกระดับประชากรออกจากความยากจน แต่ความเติบโตในเรื่องดังกล่าวก็ยังไม่มีความสม่ำเสมอเท่าใดนัก ประชากรผู้หญิงมีสัดส่วนที่อยู่ในความยากจนมากกว่าผู้ชาย เนื่องจากการเข้าถึงที่ไม่เท่ากันในเรื่องค่าแรงงาน การศึกษาและทรัพย์สิน
SDGs มีเป้าหมายที่จะขจัดความยากจนในทุกรูปแบบให้แล้วเสร็จภายในปี 2573 ซึ่งเป้าหมายดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่อาศัยอยู่ในสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงในการเข้าถึงทรัพยากรและการบริการขั้นพื้นฐาน รวมถึงช่วยเหลือชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งและภัยพิบัติที่เกี่ยวข้องกับสภาพภูมิอากาศ
2. Zero hunger ขจัดความหิวโหย

เป้าหมายที่ 2: ขจัดความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหาร ส่งเสริมเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วและผลผลิตทางการเกษตรที่เพิ่มขึ้นในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา ทำให้ได้เห็นสัดส่วนของประชากรที่ขาดแคลนอาหารลดลงเกือบครึ่งหนึ่ง ประเทศกำลังพัฒนาจำนวนมากที่เคยได้รับความทุกข์จากความอดอยากและความหิวโหย ซึ่งในขณะนี้ ประเทศเหล่านั้นสามารถให้ความช่วยเหลือทางโภชนาการแก่ผู้ด้อยโอกาสได้เป็นจำนวนมาก มีความคืบหน้าอย่างมากในเรื่องการกำจัดความหิวโดยในภาคกลางและเอเชียตะวันออก ละตินอเมริกา และประเทศกลุ่มแคริบเบียน
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) มุ่งมั่นที่จะขจัดความหิวโหยและความอดอยากทุกรูปแบบ ให้แล้วเสร็จภายในปี 2573 เพื่อให้แน่ใจว่าทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและผู้ด้อยโอกาสจำนวนมาก ได้รับการเข้าถึงอาหารที่เพียงพอและมีคุณค่าทางโภชนาการตลอดทั้งปี เป้าหมายนี้ยังเกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการเกษตรอย่างยั่งยืน การปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่และกำลังการผลิตของเกษตรกรรมขนาดเล็ก ที่ช่วยให้เข้าถึงแหล่งที่ดินทำกิน เทคโนโลยีและการตลาดอย่างเท่าเทียม นอกจากนี้ความร่วมมือระหว่างประเทศก็เป็นสิ่งสำคัญที่สร้างความเชื่อมั่นในการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร เราจะสามารถยุติความอดอยากและความหิวโหยได้ภายในปี 2573 โดยดำเนินการร่วมกับเป้าหมายอื่นๆ ที่กำหนดไว้
3. Good health and well-being การมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
![]() |
![]() นับตั้งแต่การสร้างเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ ซึ่งประสบผลสำเร็จอย่างมีคุณค่าในหน้าประวัติศาสตร์ จากการลดการเสียชีวิตของเด็ก การปรับปรุงสุขภาพของมารดาและการต่อสู้กับเชื้อเอชไอวี/ เอดส์ มาลาเรียและโรคอื่นๆ ตั้งแต่ปี 2533 สามารถป้องกันการเสียชีวิตของเด็กทั่วโลก โดยลดลงกว่า 50 % และการเสียชีวิตของมารดาก็สามารถลดลงได้ 45% ในทั่วโลก ภาวะการติดเชื้อเอชไอวีและเอดส์ที่เกิดขึ้นใหม่ สามารถลดลงได้ 30% ในระหว่างปี 2543 ถึงปี 2556 และมากกว่า 6,200,000 ชีวิตได้รับป้องกันจากโรคมาลาเรีย |
การเสียชีวิตเหล่านี้สามารถหลีกเลี่ยงได้โดยการป้องกันและการรักษา การศึกษา แคมเปญการสร้างภูมิคุ้มกันของโรคและการดูแลสุขภาพเพศและระบบสืบพันธุ์ เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนมีความมุ่งมั่นที่จะยุติการระบาดของโรคเอดส์ วัณโรคมาลาเรียและโรคติดต่ออื่นๆ ภายในปี 2573 ซึ่งมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้บรรลุหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและจัดให้มีการเข้าถึงยาและวัคซีนอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพสำหรับทุกคน การสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาวัคซีนก็เป็นส่วนสำคัญของกระบวนการนี้เช่นเดียวกับการเข้าถึงยาในราคาที่เหมาะสม
รายการวิจัย 1
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย | Impairment of bone microstructure and upregulation of osteoclastogenic markers in spontaneously hypertensive rats. |
คณะ/สาขาวิชา | Faculty of Sciences/Physiology |
ที่มาและความสำคัญ | Hypertension and osteoporosis are the major non-communicable diseases in the elderly worldwide. Although clinical studies reported that hypertensive patients experienced significant bone loss and likelihood of fracture, the causal relationship between hypertension and osteoporosis has been elusive due to other confounding factors associated with these diseases. |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา | In this study, spontaneously hypertensive rats (SHR) were used to address this relationship and further explored the biophysical properties and the underlying mechanisms. Long bones of the hind limbs from 18-week-old female SHR were subjected to determination of bone mineral density (BMD) and their mechanical properties. |
วัตถุประสงค์ | To determine the bone microstructure, bone properties and relationship between hypertension and osteoporosis |
แหล่งทุนสนับสนุน | the Thailand Research Fund (TRF), Ratchadaphiseksomphot Endowment Fund, Chulalongkorn University, the MU-MRC grant, Mahidol University and National Laboratory Animal Center (NLAC) |
หน่วยงานที่ร่วมมือ | National Laboratory Animal Center, Synchrotron Light Research Institute (Public Organization), Center of Calcium and Bone Research (COCAB), Faculty of Science, Mahidol University and Department of Biology, Faculty of Science, Chulalongkorn University |
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย | Wacharaporn Tiyasatkulkovit, Worachet Promruk, Catleya Rojviriya, Phakkhananan Pakawanit, Khuanjit Chaimongkolnukul, Kanchana Kengkoom, Jarinthorn Teerapornpuntakit, Nattapon Panupinthu & Narattaphol Charoenphandhu |
ระดับความร่วมมือ | Collaboration with faculty and University |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ | - SHR displayed marked increase in porosity within trabecular area together with decrease in cortical thickness. - SHR decreases in yield load, stiffness and maximum load using three-point bending tests. - At the cellular mechanism, an increase in the expression of osteoclastogenic markers with decrease in the expression of osteogenic markers - Defective bone mass and strength in hypertensive rats were likely due to excessive bone resorption. - Development of novel therapeutic interventions that concomitantly target hypertension and osteoporosis should be helpful in reduction of unwanted outcomes, such as bone fractures, in elderly patients. |
Web Link | https://www.nature.com/articles/s41598-019-48797-8 |
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ | - |
รายการวิจัย 2
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย | Biocompatibility Assessments of Surgical sutures: The Guinea Pig Maximization Test |
คณะ/สาขาวิชา | ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล |
ที่มาและความสำคัญ | การทดสอบความปลอดภัยเครื่องมือแพทย์ |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา | จ.นครปฐม |
วัตถุประสงค์ | เพื่อทดสอบความเข้ากันได้ทางชีวภาพของไหมเย็บแผล |
แหล่งทุนสนับสนุน | เอกชน |
หน่วยงานที่ร่วมมือ | - |
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย | ผู้บริโภค (ผู้ใช้เครื่องมือแพทย์) แพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ |
ระดับความร่วมมือ | - |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ | ความปลอดภัยของเครื่องมือแพทย์ |
Web Link | http://sphinxsai.com/2019/ph_vol12_no1/1/(90-95)V12N1PT.pdf |
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ | - |
รายการวิจัย 3
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย | Biocompatibility Assessments of Surgical sutures: Intracutaneous Reactivity Test in New Zealand White Rabbits |
คณะ/สาขาวิชา | ศูนย์สัตว์ทดลองแห่งชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล |
ที่มาและความสำคัญ | การทดสอบความปลอดภัยเครื่องมือแพทย์ |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา | จ.นครปฐม |
วัตถุประสงค์ | เพื่อทดสอบความเข้ากันได้ทางชีวภาพของไหมเย็บแผล |
แหล่งทุนสนับสนุน | เอกชน |
หน่วยงานที่ร่วมมือ | - |
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย | ผู้บริโภค (ผู้ใช้เครื่องมือแพทย์) แพทย์ บุคลากรทางการแพทย์ |
ระดับความร่วมมือ | - |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ | ความปลอดภัยของเครื่องมือแพทย์ |
Web Link | http://sphinxsai.com/2019/ph_vol12_no2/1/(145-150)V12N2PT.pdf |
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ | - |
รายการวิจัย 4
หัวข้อ | รายละเอียด |
ชื่องานวิจัย | Lipid-lowering Effect of Phyllanthus embilica and Alpinia galangal Extract on HepG2 cell line |
คณะ/สาขาวิชา | Faculty of Medicine Siriraj Hospital / Department of Biochemistry |
ที่มาและความสำคัญ | Dyslipidemia is a key risk factor for cardiovascular diseases. Although statins are powerful therapeutic option for achieving target low- and high-density lipoprotein levels, it is of interest to seek for alternative treatments for dyslipidemia. Phyllanthus emblica and Alpinia galanga were found to have hypolipidemic effects. |
ขอบเขต/พื้นที่การศึกษา | Study bioactivity mechanisms of the hydroethanolic extracts from a Phyllanthus emblica (PE), Alpinia galangal (AG) and a combination between P. emblica and A. galangal (PEAG; ratio 7:3 w/w) on expression of low-density lipoprotein receptor (LDLR), 3-hydroxyl-3-methylglutaryl-CoA reductase (HMGCR), apolipoprotein A1 (ApoA1) and scavenger receptor class B1 (SR-BI) genes were assessed in HepG2 cell line using quantitative RT-PCR (qRT-PCR). |
วัตถุประสงค์ | this study aims to investigate the hypolipidemic effect of AG (A. galanga), PE (P. emblica), PEAG (a combined extract of P.emblica and A. galanga at the ratio 7:3 w/w) and gallic acid in comparison with simvastatin which was used as a standard control on the key genes involving in lipoprotein metabolism and cholesterol synthesis at the transcriptional levels using quantitative real-time PCR (qRT-PCR) |
แหล่งทุนสนับสนุน | National Nanotechnology Center (Thailand) and Cerebos Awards 2012 |
หน่วยงานที่ร่วมมือ | Department of Biochemistry, Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University Department of Department of Pharmacognosy and Pharmaceutical Botany, Faculty of Pharmaceutical Sciences, Chulalongkorn University Academic Services Office, National Laboratory Animal Center, Mahidol University Department of Tropical Pathology, Faculty of Tropical Medicine, Mahidol University |
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย | NapataraTirawanchai, Preeyanut Homongkol, Chaisak Chansriniyom, Anchaleekorn Somkasetrin, Jiraporn Jantaravinid, Kanchana Kengkoom, Sumate Ampawong |
ระดับความร่วมมือ | Collaboration with faculty and University |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์ต่อ | PEAG might be an alternative hypolipidemic agent. It could upregulate expression of the LDLR, ApoA1 and SR-B1 genes. The expression of LDLR, HMGCR, APOA1 and SR-B1 genes used to assess the hypolipidemic effect of PEAG in animal models and clinical trials. |
Web Link | https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S2213434419300532#! |
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ | - |
4. Quality education

เป้าหมายที่ 4: รับรองการศึกษาที่เท่าเทียมและทั่วถึง ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่ทุกคน
5. Gender equality

เป้าหมายที่ 5: บรรลุความเท่าเทียมทางเพศ พัฒนาบทบาทสตรีและเด็กผู้หญิง
ตั้งแต่ปี 2543 UNDP ร่วมกับ พันธมิตรของ UN และประชาคมโลกให้ความเสมอภาคทางเพศเป็นศูนย์กลางในการทำงาน และพวกเราได้เห็นความสำเร็จอันน่าประทับใจ มีผู้หญิงจำนวนมากขึ้นที่ได้เรียนในโรงเรียน เมื่อเทียบกับ 15 ปีที่ผ่านมา และในภูมิภาคส่วนใหญ่ ก็มีความเท่าเทียมกันทางเพศในการศึกษาระดับประถมศึกษา ในขณะนี้ ผู้หญิงสามารถทำงานนอกบ้านและได้รับค่าแรงจากงาน ที่ไม่ใช่ทำการเกษตรได้ถึง 41% เมื่อเทียบปี 2533 ซึ่งมีเพียง 35%
SDGs มีจุดหมายที่จะสร้างความสำเร็จเหล่านี้เพื่อให้แน่ใจว่ามีการยุติการเลือกปฏิบัติต่อผู้หญิงและเด็กผู้หญิงในทุกที่ แต่ในบางภูมิภาคยังคงมีความไม่เท่าเทียมกันในเบื้องต้นสำหรับการเข้าถึงค่าจ้าง และยังคงมีช่องว่างที่มีนัยสำคัญระหว่างชายและหญิงในตลาดแรงงาน ความรุนแรงทางเพศและการละเมิดทางเพศ การใช้แรงงานที่ผิดกฎหมาย และการแบ่งแยกชนชั้นของประชาชนยังคงเป็นอุปสรรคใหญ่ในเรื่องนี้